͢¢ԷҡѧPostharvest Technology Information NetworkPostharvest TechnologyɵҪԡ͢纺촡ɵҹŧҹԨ

แนะนำหน่วยงาน

  • หน้าหลัก
  • ประชาสัมพันธ์ศูนย์ฯ
  • ความเป็นมา
  • วัตถุประสงค์
  • โครงสร้างการบริหาร
  • คณะกรรมการอำนวยการ
  • คณะกรรมการบริหาร
  • ภาคีสถาบันอุดมศึกษาและวิจัย
  • ติดต่อศูนย์ ฯ

บริการต่าง ๆ

  • PHTNET E-Learning
  • Postharvest Newsletter
  • เครื่องมือวิทยาศาสตร์
  • ห้องปฏิบัติการ
  • รายชื่อผู้ประกอบการ
  • ฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
  • หลักสูตรวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว
  • รูปภาพความเสียหายหลังการเก็บเกี่ยว
  • มาตรฐานสินค้าเกษตร และระเบียบการส่งออก
  • ลิ้งค์ที่เกี่ยวข้อง

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  • สถาบันวิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
  • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  • กรมส่งเสริมการเกตร
  • กรมวิชาการเกษตร
  • สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
  • อุตุนิยมวิทยาเพื่อการเกษตร
  • สมาคมผู้ส่งข้าวออกต่างประเทศ
  • ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย
  • สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.)

หน้าแรก > ข่าวเกษตรประจำวัน

ถั่วลิสงเมล็ดโตอายุสั้น คุณค่าทางอาหารสูง

เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 51

ถั่วลิสงเมล็ดโตอายุสั้น คุณค่าทางอาหารสูง ถั่วลิสงเป็นพืชตระกูลถั่วที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของไทย เนื่องจากเป็นพืชที่สามารถปลูกได้ทั่วทุกภาคของประเทศ และใช้บริโภคได้หลายรูปแบบ ทั้งการบริโภคสด นำไปประกอบอาหาร และทำผลิตภัณฑ์แปรรูปต่างๆ จึงเป็นแหล่งรายได้เสริมที่สำคัญของเกษตรกรรายย่อย เป็นแหล่งอาหารโปรตีนที่สำคัญอย่างหนึ่งของคนไทย และยังเป็นพืชที่ช่วยปรับปรุงบำรุงดินอีกด้วย ซึ่งคุณสมบัติประการหลังนี้ทำให้ถั่วลิสงมีความสำคัญมากขึ้นในแง่ที่จะช่วยเสริมสร้างความยั่งยืนของการใช้ที่ดิน

ทีมวิจัยภายใต้การนำของ ศ.ดร.อารันต์ พัฒโนทัย เมธีวิจัยอาวุโส สกว. สาขาพืชไร่ ม.ขอนแก่น มองเห็นว่าเกษตรกรผู้ปลูกถั่วลิสงส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรายย่อยที่มีฐานะยากจน การแก้ปัญหาเหล่านี้จะต้องมีงานวิจัยมาช่วยสนับสนุน โดยเฉพาะการพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับเกษตรกร จึงดำเนินงานวิจัยพื้นฐานเพื่อสนับสนุนการผลิตถั่วลิสงของไทย ควบคู่กันไปกับการปรับปรุงพันธุ์ถั่วลิสง โดยเฉพาะถั่วลิสงชนิดเมล็ดโต ที่ผลิตภัณฑ์แปรรูปมีมูลค่าสูง และเป็นที่ต้องการของตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ

ผลงานที่สำคัญในการปรับปรุงพันธุ์ถั่วลิสงเมล็ดโต ได้แก่ การพัฒนาถั่วลิสงพันธุ์ขอนแก่น 60-3 ร่วมกับศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น และถั่วลิสงพันธุ์ มข. 72-1 และ มข. 72-2 ซึ่งพันธุ์เหล่านี้ได้เผยแพร่ให้เกษตรกรนำไปปลูกแล้ว ทำให้เกษตรกรมีพันธุ์ที่ผลิตผลมีราคาสูงขึ้น และยังได้เชื่อมโยงการปลูกกับการแปรรูปผลิตภัณฑ์ ทั้งในระดับชุมชนและระดับอุตสาหกรรม

ที่มา : หนังสือพิมพ์ข่าวสด วันที่ 30 ตุลาคม 2551
http://www.matichon.co.th/khaosod/view_news.php?newsid=TUROeVlXb3dOVE13TVRBMU1RPT0=§ionid=TURNek1RPT0=&day=TWpBd09DMHhNQzB6TUE9PQ==

ข่าวที่เกี่ยวข้อง
  • รวมอาชีพเกษตรกรรม ทำง่ายรายได้งาม ปี 2551
  • ม.บูรพาต่อยอดงานวิจัย "หิ้งสู่ห้าง" เพิ่มมูลค่า "ปลาสลิด" บ้านแพ้ว
  • กรมข้าวเตือนนครนายกเฝ้าระวัง เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลระบาดที่นา
  • ลดพิษของโลหะหนักในปลาด้วยวิตามินซี
  • เร่งปลูกถั่วเขียว พันธุ์ "ชัยนาท 80" นำร่องเหนือล่าง
  • ไทยเยี่ยมโคลนนิ่งกระทิงป่าได้สำเร็จ
  • "เจริญ คุ้มสุภา" ปลูกมะม่วงนอกฤดูขายญี่ปุ่น
  • ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

    Postharvest Technology Innovation Center

    เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว | ข่าวเกษตร | บทความ | ฐานข้อมูลงานวิจัย | วีดีโอ | Postharvest Technology