͢¢ԷҡѧPostharvest Technology Information NetworkPostharvest TechnologyɵҪԡ͢纺촡ɵҹŧҹԨ

แนะนำหน่วยงาน

  • หน้าหลัก
  • ประชาสัมพันธ์ศูนย์ฯ
  • ความเป็นมา
  • วัตถุประสงค์
  • โครงสร้างการบริหาร
  • คณะกรรมการอำนวยการ
  • คณะกรรมการบริหาร
  • ภาคีสถาบันอุดมศึกษาและวิจัย
  • ติดต่อศูนย์ ฯ

บริการต่าง ๆ

  • PHTNET E-Learning
  • Postharvest Newsletter
  • เครื่องมือวิทยาศาสตร์
  • ห้องปฏิบัติการ
  • รายชื่อผู้ประกอบการ
  • ฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
  • หลักสูตรวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว
  • รูปภาพความเสียหายหลังการเก็บเกี่ยว
  • มาตรฐานสินค้าเกษตร และระเบียบการส่งออก
  • ลิ้งค์ที่เกี่ยวข้อง

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  • สถาบันวิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
  • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  • กรมส่งเสริมการเกตร
  • กรมวิชาการเกษตร
  • สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
  • อุตุนิยมวิทยาเพื่อการเกษตร
  • สมาคมผู้ส่งข้าวออกต่างประเทศ
  • ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย
  • สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.)

หน้าแรก > ข่าวเกษตรประจำวัน

อบแห้ง-ใช้ไอน้ำร้อนยวดยิ่ง สำหรับอาหาร-วัสดุชีวภาพ

เมื่อวันที่ 16 กันยายน 51

อบแห้ง-ใช้ไอน้ำร้อนยวดยิ่ง สำหรับอาหาร-วัสดุชีวภาพ รศ.ดร.สักกมน เทพหัสดิน ณ อยุธยา และคณะจากภาควิชาวิศวกรรมอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พัฒนาวิธีการอบแห้งแบบใช้ไอน้ำร้อนยวดยิ่งที่สภาวะความดันต่ำ โดยได้รับการสนับสนุนจากฝ่ายวิชาการ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

การอบแห้งแบบใช้ไอน้ำร้อนยวดยิ่งที่สภาวะความดันต่ำนี้ รวมเอาข้อดีของการอบแห้งแบบสุญญากาศ คือ ความสามารถในการอบแห้งที่อุณหภูมิต่ำ เข้ากับข้อดีของการอบแห้งแบบใช้ไอน้ำร้อนยวดยิ่ง คือ การที่ไม่มีออกซิเจนในระบบอบแห้ง ทำให้ไม่มีการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่นใดๆ ระหว่างการอบแห้ง ส่งผลให้สีและคุณค่าทางโภชนาการต่างๆ ได้รับการรักษาเอาไว้ค่อนข้างดี เมื่อเปรียบเทียบกับการอบแห้งแบบลมร้อน หรือแม้กระทั่งการอบแห้งแบบสุญญากาศเพียงอย่างเดียว คณะผู้วิจัยได้ทดลองอบแห้งผลิตภัณฑ์อาหารต่างๆ หลายประเภท โดยใช้เครื่องอบแห้งแบบใช้ไอน้ำยวดยิ่งที่สภาวะความดันต่ำ เช่น แครอต มะขามป้อม กล้วย และมันฝรั่ง ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบผลที่ได้กับกรณีการอบแห้งแบบลมร้อนและแบบสุญญากาศ พบว่าการอบแห้งแบบใช้ไอน้ำร้อนยวดยิ่งที่สภาวะความดันต่ำสามารถรักษาสีและคุณค่าทางอาหาร (เช่น เบต้าแคโรทีน และวิตามินซี) ของผลิตภัณฑ์เอาไว้ได้ดี จึงอาจกล่าวได้ว่ากระบวนการอบแห้งแบบใช้ไอน้ำร้อนยวดยิ่งที่สภาวะความดันต่ำมีศักยภาพในการผลิตขนมขบเคี้ยวสุขภาพได้อีกด้วย

ที่มา : หนังสือพิมพ์ข่าวสด วันที่ 16 กันยายน 2551
http://www.matichon.co.th/khaosod/view_news.php?newsid=TUROeVlXb3dOVEUyTURrMU1RPT0=§ionid=TURNek1RPT0=&day=TWpBd09DMHdPUzB4Tmc9PQ==

ข่าวที่เกี่ยวข้อง
  • รวมอาชีพเกษตรกรรม ทำง่ายรายได้งาม ปี 2551
  • ม.บูรพาต่อยอดงานวิจัย "หิ้งสู่ห้าง" เพิ่มมูลค่า "ปลาสลิด" บ้านแพ้ว
  • กรมข้าวเตือนนครนายกเฝ้าระวัง เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลระบาดที่นา
  • ลดพิษของโลหะหนักในปลาด้วยวิตามินซี
  • เร่งปลูกถั่วเขียว พันธุ์ "ชัยนาท 80" นำร่องเหนือล่าง
  • ไทยเยี่ยมโคลนนิ่งกระทิงป่าได้สำเร็จ
  • "เจริญ คุ้มสุภา" ปลูกมะม่วงนอกฤดูขายญี่ปุ่น
  • ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

    Postharvest Technology Innovation Center

    เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว | ข่าวเกษตร | บทความ | ฐานข้อมูลงานวิจัย | วีดีโอ | Postharvest Technology