͢¢ԷҡѧPostharvest Technology Information NetworkPostharvest TechnologyɵҪԡ͢纺촡ɵҹŧҹԨ

แนะนำหน่วยงาน

  • หน้าหลัก
  • ประชาสัมพันธ์ศูนย์ฯ
  • ความเป็นมา
  • วัตถุประสงค์
  • โครงสร้างการบริหาร
  • คณะกรรมการอำนวยการ
  • คณะกรรมการบริหาร
  • ภาคีสถาบันอุดมศึกษาและวิจัย
  • ติดต่อศูนย์ ฯ

บริการต่าง ๆ

  • PHTNET E-Learning
  • Postharvest Newsletter
  • เครื่องมือวิทยาศาสตร์
  • ห้องปฏิบัติการ
  • รายชื่อผู้ประกอบการ
  • ฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
  • หลักสูตรวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว
  • รูปภาพความเสียหายหลังการเก็บเกี่ยว
  • มาตรฐานสินค้าเกษตร และระเบียบการส่งออก
  • ลิ้งค์ที่เกี่ยวข้อง

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  • สถาบันวิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
  • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  • กรมส่งเสริมการเกตร
  • กรมวิชาการเกษตร
  • สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
  • อุตุนิยมวิทยาเพื่อการเกษตร
  • สมาคมผู้ส่งข้าวออกต่างประเทศ
  • ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย
  • สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.)

หน้าแรก > ข่าวเกษตรประจำวัน

สศก.แง้มผลศึกษาผลกระทบ FTA สินค้าหลายรายการมีอนาคต/เล็งขยายผลปรับแผนเจรจาคู่ค้า

เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 51

สศก.แง้มผลศึกษาผลกระทบ FTA สินค้าหลายรายการมีอนาคต/เล็งขยายผลปรับแผนเจรจาคู่ค้า นายอภิชาต จงสกุล เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) เปิดเผยว่า ตามที่ประเทศไทยได้ทำข้อตกลงเปิดเขตการค้าเสรี หรือ FTA กับประเทศต่างๆ ส่งผลให้ประเทศไทยต้องเพิ่มขีดการแข่งขันในตลาดโลกมากขึ้น เนื่องจากการทำ FTA มีทั้งข้อได้เปรียบและเสียเปรียบ ดังนั้น สศก. จึงร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ดำเนินการศึกษาผลกระทบด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นกับประเทศไทยจากการเปิด FTA โดยศึกษาทั้งในแง่ภาพรวมของประเทศ และมุ่งเน้นศึกษาผลกระทบที่จะเกิดกับสาขาเกษตร โดยสร้างเป็นแบบจำลองผลวิเคราะห์ตามรูปแบบที่ทำข้อตกลง แบ่งเป็น 3 กรณีศึกษา ได้แก่ การเปิดการค้าเสรีภายใต้ WTO ผลกระทบ FTA ที่ลงนามกับจีน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ มุ่งเน้นศึกษาเป็นรายสินค้าเกษตรที่สำคัญ จากนั้นได้นำผลการศึกษานี้ไปสำรวจความคิดเห็นของเกษตรกรว่า สอดคล้องกับความจริงหรือไม่

ทั้งนี้ ผลการศึกษาบ่งชี้ว่า สินค้าที่มีโอกาสทางการแข่งขันในการส่งออกได้ค่อนข้างมาก ได้แก่ ข้าว อ้อย มันสำปะหลัง ปาล์มน้ำมัน มังคุด กระเจี๊ยบเขียว หน่อไม้ฝรั่ง ส้มเขียวหวาน มะม่วง ชา ไก่เนื้อ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม จากการศึกษายังชี้ให้เห็นว่าเกษตรกรโดยเฉพาะรายย่อยยังไม่มีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างการผลิต เพื่อสร้างโอกาสทางการแข่งขันมากนัก เนื่องจากยังไม่เห็นผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเปิดเขตการค้าเสรี ดังนั้นภาครัฐควรจะสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่อง FTA ให้กับเกษตรกร ส่งเสริมการรวมกลุ่มทั้งด้านการผลิตและการตลาด ปรับระบบการผลิตให้สอดคล้องกับมาตรฐานการค้าเสรี

"การศึกษาผลกระทบจากการทำ FTA ครั้งนี้ ทำให้ทราบข้อมูลเชิงลึกที่มีตัวสัญญาณบ่งชี้ว่าสินค้าใดบ้างที่ไทยจะได้เปรียบหรือเสียเปรียบ ซึ่งเป็นประโยชน์ในการที่ สศก. จะได้เตรียมแผนรองรับในการเจรจาต่อรองกับประเทศคู่ค้า เพื่อให้ฝ่ายไทยได้รับประโยชน์สูงสุด" นายอภิชาต กล่าว

ที่มา : หนังสือพิมพ์แนวหน้า วันที่ 22 สิงหาคม 2551
http://www.naewna.com/news.asp?ID=119377

ข่าวที่เกี่ยวข้อง
  • รวมอาชีพเกษตรกรรม ทำง่ายรายได้งาม ปี 2551
  • ม.บูรพาต่อยอดงานวิจัย "หิ้งสู่ห้าง" เพิ่มมูลค่า "ปลาสลิด" บ้านแพ้ว
  • กรมข้าวเตือนนครนายกเฝ้าระวัง เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลระบาดที่นา
  • ลดพิษของโลหะหนักในปลาด้วยวิตามินซี
  • เร่งปลูกถั่วเขียว พันธุ์ "ชัยนาท 80" นำร่องเหนือล่าง
  • ไทยเยี่ยมโคลนนิ่งกระทิงป่าได้สำเร็จ
  • "เจริญ คุ้มสุภา" ปลูกมะม่วงนอกฤดูขายญี่ปุ่น
  • ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

    Postharvest Technology Innovation Center

    เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว | ข่าวเกษตร | บทความ | ฐานข้อมูลงานวิจัย | วีดีโอ | Postharvest Technology