͢¢ԷҡѧPostharvest Technology Information NetworkPostharvest TechnologyɵҪԡ͢纺촡ɵҹŧҹԨ

แนะนำหน่วยงาน

  • หน้าหลัก
  • ประชาสัมพันธ์ศูนย์ฯ
  • ความเป็นมา
  • วัตถุประสงค์
  • โครงสร้างการบริหาร
  • คณะกรรมการอำนวยการ
  • คณะกรรมการบริหาร
  • ภาคีสถาบันอุดมศึกษาและวิจัย
  • ติดต่อศูนย์ ฯ

บริการต่าง ๆ

  • PHTNET E-Learning
  • Postharvest Newsletter
  • เครื่องมือวิทยาศาสตร์
  • ห้องปฏิบัติการ
  • รายชื่อผู้ประกอบการ
  • ฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
  • หลักสูตรวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว
  • รูปภาพความเสียหายหลังการเก็บเกี่ยว
  • มาตรฐานสินค้าเกษตร และระเบียบการส่งออก
  • ลิ้งค์ที่เกี่ยวข้อง

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  • สถาบันวิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
  • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  • กรมส่งเสริมการเกตร
  • กรมวิชาการเกษตร
  • สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
  • อุตุนิยมวิทยาเพื่อการเกษตร
  • สมาคมผู้ส่งข้าวออกต่างประเทศ
  • ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย
  • สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.)

หน้าแรก > ข่าวเกษตรประจำวัน

ควบคุมคุณภาพกล้วยไม้ ใช้ GAP รับรองมาตรฐาน

เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 51

ควบคุมคุณภาพกล้วยไม้ ใช้ GAP รับรองมาตรฐาน

นางสาวเมทนี สุคนธรักษ์ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร เปิดเผยว่า ปัจจุบันประเทศไทยเป็นแหล่งกำเนิดของกล้วยไม้หลากหลายชนิดที่มีค่า สามารถทำรายได้จากการส่งออกไม่ต่ำกว่าปีละ 3,000 ล้านบาท และสามารถส่งออกเป็นอันดับ 2 ของโลก ในอนาคตคาดว่าอีกประมาณ 3-4 ปี จะสามารถทำรายได้ถึง 10,000 ล้านบาท โดยส่งออกในรูปแบบของไม้ตัดดอก ไม้ต้น ไม้ขวด ตลอดจน ผลิตภัณฑ์จากดอกกล้วยไม้

อธิบดีกรมวิชาการเกษตร กล่าวต่อว่า เพื่อให้การผลิตกล้วยไม้ส่งออกได้คุณภาพ กระทรวงเกษตรฯจึงมอบหมายให้สถาบันวิจัยพืชสวน กรมวิชาการเกษตร จัดทำระบบการจัดการคุณภาพ GAP รับรองแปลงเกษตรกรที่ปฏิบัติตามแผนการควบคุมการผลิตกล้วยไม้ขึ้น ซึ่งจะทำให้สามารถผลิตได้ตรงตามพันธุ์ อีกทั้งมีคุณภาพ ปลอดศัตรูพืช และได้มาตรฐานตามข้อกำหนด โดยผู้ที่ผ่านขั้นตอนการพิจารณาระบบ GAP จะมอบเครื่องหมายสัญลักษณ์ Q อย่างไรก็ตาม ล่าสุดมีเกษตรกรยื่นขอจดทะเบียนแล้วกว่า 100 ราย ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการพิจารณา

ด้านนายสุชาติ วิจิตรานนท์ ผู้อำนวยการสถาบันพืชสวน กล่าวว่า ขณะนี้ได้เร่งทำการศึกษาวิจัยแก้ไขปัญหา โดยเฉพาะในเรื่องระบบการขนส่งเพื่อให้สะดวกและรวดเร็ว นอกจากนี้ยังได้พัฒนากล้วยไม้พื้นถิ่นที่มีศักยภาพได้แก่ กล้วยไม้สกุลรองเท้านารี สกุลซิมบิเดีย สกุลสปาโทกลอททิส และสกุลฮาบินาเรีย ให้สามารถเปิดตลาดและสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรได้อย่างต่อเนื่อง

ที่มา : หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ วันที่ 21 สิงหาคม 2551
http://www.thairath.co.th/news.php?section=agriculture&content=101331

ข่าวที่เกี่ยวข้อง
  • รวมอาชีพเกษตรกรรม ทำง่ายรายได้งาม ปี 2551
  • ม.บูรพาต่อยอดงานวิจัย "หิ้งสู่ห้าง" เพิ่มมูลค่า "ปลาสลิด" บ้านแพ้ว
  • กรมข้าวเตือนนครนายกเฝ้าระวัง เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลระบาดที่นา
  • ลดพิษของโลหะหนักในปลาด้วยวิตามินซี
  • เร่งปลูกถั่วเขียว พันธุ์ "ชัยนาท 80" นำร่องเหนือล่าง
  • ไทยเยี่ยมโคลนนิ่งกระทิงป่าได้สำเร็จ
  • "เจริญ คุ้มสุภา" ปลูกมะม่วงนอกฤดูขายญี่ปุ่น
  • ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

    Postharvest Technology Innovation Center

    เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว | ข่าวเกษตร | บทความ | ฐานข้อมูลงานวิจัย | วีดีโอ | Postharvest Technology