͢¢ԷҡѧPostharvest Technology Information NetworkPostharvest TechnologyɵҪԡ͢纺촡ɵҹŧҹԨ

แนะนำหน่วยงาน

  • หน้าหลัก
  • ประชาสัมพันธ์ศูนย์ฯ
  • ความเป็นมา
  • วัตถุประสงค์
  • โครงสร้างการบริหาร
  • คณะกรรมการอำนวยการ
  • คณะกรรมการบริหาร
  • ภาคีสถาบันอุดมศึกษาและวิจัย
  • ติดต่อศูนย์ ฯ

บริการต่าง ๆ

  • PHTNET E-Learning
  • Postharvest Newsletter
  • เครื่องมือวิทยาศาสตร์
  • ห้องปฏิบัติการ
  • รายชื่อผู้ประกอบการ
  • ฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
  • หลักสูตรวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว
  • รูปภาพความเสียหายหลังการเก็บเกี่ยว
  • มาตรฐานสินค้าเกษตร และระเบียบการส่งออก
  • ลิ้งค์ที่เกี่ยวข้อง

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  • สถาบันวิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
  • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  • กรมส่งเสริมการเกตร
  • กรมวิชาการเกษตร
  • สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
  • อุตุนิยมวิทยาเพื่อการเกษตร
  • สมาคมผู้ส่งข้าวออกต่างประเทศ
  • ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย
  • สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.)

หน้าแรก > ข่าวเกษตรประจำวัน

ข้าวหอมมะลิมทุ่งกุลาได้เฮรับ GAP เต็มที่

เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 51

ข้าวหอมมะลิมทุ่งกุลาได้เฮรับ GAP เต็มที่

นายจิตรกร สามประดิษฐ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ เปิดเผยว่า ทุ่งกุลาร้องไห้ เป็นแหล่งผลิตข้าวหอมมะลิที่มีชื่อเสียงของประเทศ ผลผลิตมีความพิเศษในเรื่องความนุ่มและความหอม เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค ทางกระทรวงเกษตรฯ ได้ระดมหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กรมชลประทาน กรมพัฒนาที่ดิน กรมวิชาการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมสหกรณ์ กรม การข้าว และสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ร่วมกันทำงานแบบบูรณาการ เชื่อมโยงตั้งแต่การปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต ตรวจสอบรับรองมาตรฐาน และการจัดการธุรกิจการตลาดข้าวหอมมะลิ โดยมีระยะเวลาดำเนินการ 5 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547-2551 เป้าหมายพัฒนาพื้นที่ปลูกข้าวหอมมะลิ 1.27 ล้านไร่ ให้สามารถเพิ่มผลผลิตข้าวเป็น 470 กก.ต่อไร่ หลังสิ้นสุดโครงการ เกษตรกร 85,000 ครัวเรือน มีรายได้เพิ่มขึ้น 19,680 บาท/ครัวเรือน และเพิ่มมูลค่าการส่งออกข้าวหอมมะลิ ปีละ 2,367.72 ล้านบาท
 
ที่ผ่านมากรมส่งเสริมสหกรณ์ได้มีการ  ฝึกอบรมให้ความรู้เรื่องการผลิตข้าวหอมมะลิดีที่เหมาะสม (GAP) ให้กับผู้นำเกษตรกร และผู้นำสหกรณ์ จำนวนกว่า 7,500 ราย เพื่อส่งเสริมความรู้เรื่องกระบวนการผลิตข้าวหอมมะลิที่ถูกต้องทั้งระบบ โดยกรมฯ ตั้งเป้าว่าความรู้เรื่อง GAP ที่จัดทำขึ้นน่าจะทำให้ข้าวเปลือกมีคุณภาพดีขึ้น และจะทำให้ผลผลิตเฉลี่ยข้าวหอมมะลิของเกษตรกรเพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 10 และข้าวทั้งหมดจะถูกส่งเข้าสู่โรงสีข้าวของสหกรณ์ปรับปรุงคุณภาพที่สหกรณ์การเกษตร  กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่เพื่อแปรรูปตรวจสอบคุณภาพ และบรรจุเป็นแบรนด์สินค้าเดียวกันก่อนส่งจำหน่ายยังตลาดต่อไป ซึ่งมาตรการดังกล่าว นอกจากจะช่วยควบคุมคุณภาพข้าวหอมมะลิในโครงการให้เป็นมาตรฐานเดียวกันแล้ว ยังจะสามารถช่วยแก้ไขปัญหาเรื่องการปลอมปนที่เกิดขึ้นอีกด้วย.

ที่มา : หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ วันที่ 28 มีนาคม 2551
http://www.dailynews.co.th/web/html/popup_news/Default.aspx?Newsid=158911&NewsType=1&Template=1

ข่าวที่เกี่ยวข้อง
  • รวมอาชีพเกษตรกรรม ทำง่ายรายได้งาม ปี 2551
  • ม.บูรพาต่อยอดงานวิจัย "หิ้งสู่ห้าง" เพิ่มมูลค่า "ปลาสลิด" บ้านแพ้ว
  • กรมข้าวเตือนนครนายกเฝ้าระวัง เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลระบาดที่นา
  • ลดพิษของโลหะหนักในปลาด้วยวิตามินซี
  • เร่งปลูกถั่วเขียว พันธุ์ "ชัยนาท 80" นำร่องเหนือล่าง
  • ไทยเยี่ยมโคลนนิ่งกระทิงป่าได้สำเร็จ
  • "เจริญ คุ้มสุภา" ปลูกมะม่วงนอกฤดูขายญี่ปุ่น
  • ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

    Postharvest Technology Innovation Center

    เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว | ข่าวเกษตร | บทความ | ฐานข้อมูลงานวิจัย | วีดีโอ | Postharvest Technology