͢¢ԷҡѧPostharvest Technology Information NetworkPostharvest TechnologyɵҪԡ͢纺촡ɵҹŧҹԨ

แนะนำหน่วยงาน

  • หน้าหลัก
  • ประชาสัมพันธ์ศูนย์ฯ
  • ความเป็นมา
  • วัตถุประสงค์
  • โครงสร้างการบริหาร
  • คณะกรรมการอำนวยการ
  • คณะกรรมการบริหาร
  • ภาคีสถาบันอุดมศึกษาและวิจัย
  • ติดต่อศูนย์ ฯ

บริการต่าง ๆ

  • PHTNET E-Learning
  • Postharvest Newsletter
  • เครื่องมือวิทยาศาสตร์
  • ห้องปฏิบัติการ
  • รายชื่อผู้ประกอบการ
  • ฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
  • หลักสูตรวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว
  • รูปภาพความเสียหายหลังการเก็บเกี่ยว
  • มาตรฐานสินค้าเกษตร และระเบียบการส่งออก
  • ลิ้งค์ที่เกี่ยวข้อง

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  • สถาบันวิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
  • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  • กรมส่งเสริมการเกตร
  • กรมวิชาการเกษตร
  • สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
  • อุตุนิยมวิทยาเพื่อการเกษตร
  • สมาคมผู้ส่งข้าวออกต่างประเทศ
  • ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย
  • สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.)

หน้าแรก > ข่าวเกษตรประจำวัน

ผลไม้ไทยไปจีนยังสดใส

เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 51

ผลไม้ไทยไปจีนยังสดใส นายอภิชาต จงสกุล เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยถึงผลงานวิจัยระบบโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานผลไม้สด พบว่า ไทยยังมีโอกาสที่จะขยายการส่งออกได้อีกมาก ทั้งตลาดในจีน ซึ่งเป็นตลาดหลักที่สำคัญและตลาดชายแดนเพื่อนบ้าน เช่น กัมพูชา เวียดนาม ที่ความต้องการยังมีอีกมาก

ส่วนการขนส่งทางเรือเดินทะเลเข้าสู่ประเทศจีนโดยตรงสามารถขนส่งได้หลายเส้นทาง นอกจากเข้าสู่ท่าเรือในเมืองกวางเจา มณฑลกวางตุ้งแล้ว ยังสามารถขนส่งโดยใช้เส้นทางจากแหลมฉบังไปสู่ท่าเรือจูไห่ (Zhuhai) เข้าสู่เมืองจางซาน มณฑลกวางตุ้ง โดยมี ตลาดกลางค้าผลไม้แห่งใหม่ คือ Jin Tao (Zhongshan) Fresh Produce Logistic Center รองรับ หรือเข้าท่าเรือเซี้ยะเหมิน มณฑลฟูเจี้ยน และท่าเรือเจียงหนิง มหานครเทียนสิน แล้วกระจายไปยังเมืองต่าง ๆ โดย รถยนต์บรรทุก

สำหรับเส้นทางขนส่งทางบก ปัจจุบันได้มีโครงข่ายทางหลวงเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านหลายเส้นทาง เช่น โครงข่ายเส้น ทางแนวตะวันออก-ตะวันตก (East-West Economic Corridor พม่า-ไทย-ลาว-เวียดนาม) ซึ่งสามารถเชื่อมโยงถึงเมืองผิงเสียง มณฑลกวางสีของจีน ใช้เส้นทางหนองคาย-ปากซัน-คำเกิด-วิงห์-ฮานอย-ผิง วังเตา-จีน
 
ดังนั้น จึงนับเป็นโอกาสอันดีของไทยในการกระจายผลไม้สู่ประเทศจีนและประเทศเพื่อนบ้านได้เพิ่มมากขึ้น โดยอาศัยเส้นทางดังกล่าว อันจะเป็นการย่นระยะเวลาในการขนส่ง ลดการสูญเสียรวมทั้งระบายผลผลิตในช่วงฤดูกาลได้อีกทางหนึ่ง

ที่มา : หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ วันที่ 6 มีนาคม 2551
http://www.dailynews.co.th/web/html/popup_news/Default.aspx?Newsid=156691&NewsType=1&Template=1

ข่าวที่เกี่ยวข้อง
  • รวมอาชีพเกษตรกรรม ทำง่ายรายได้งาม ปี 2551
  • ม.บูรพาต่อยอดงานวิจัย "หิ้งสู่ห้าง" เพิ่มมูลค่า "ปลาสลิด" บ้านแพ้ว
  • กรมข้าวเตือนนครนายกเฝ้าระวัง เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลระบาดที่นา
  • ลดพิษของโลหะหนักในปลาด้วยวิตามินซี
  • เร่งปลูกถั่วเขียว พันธุ์ "ชัยนาท 80" นำร่องเหนือล่าง
  • ไทยเยี่ยมโคลนนิ่งกระทิงป่าได้สำเร็จ
  • "เจริญ คุ้มสุภา" ปลูกมะม่วงนอกฤดูขายญี่ปุ่น
  • ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

    Postharvest Technology Innovation Center

    เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว | ข่าวเกษตร | บทความ | ฐานข้อมูลงานวิจัย | วีดีโอ | Postharvest Technology