บทคัดย่องานวิจัย

ซอร์พชันไอโซเทิร์มและการพัฒนากระบวนการทำแห้งใบบัวบก

วิทวัส ไตรรัตนาภิกุล

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีการอาหาร) คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 108 หน้า. 2554.

2554

บทคัดย่อ

ซอร์พชันไอโซเทิร์มและการพัฒนากระบวนการทำแห้งใบบัวบก

การศึกษาความแกออนของใบบัวบก (Centella asiatica (L.) Urban) โดยแบงใบบัวบกออกเปน 3 กลุม ตามขนาดเสนผานศูนยกลาง เปรียบเทียบปริมาณความชื้นปริมาณฟนอลิกทั้งหมดสมบัติการตานออกซิเดชันคาสีและปริมาณเสนใยพบวาใบบัวบกที่มีเสนผาน ศูนยกลางของใบขนาด 4.6-5.5 เซนติเมตรและ 5.6-6.5 เซนติเมตร มีปริมาณฟนอลิกทั้งหมดและสมบัติการตานออกซิเดชันสูงที่สุดการศึกษาประสิทธิภาพการลวกใบบัวบกโดยการวัดกิจกรรมเอนไซมเปอรออกซิเดส พบวาการลวกใบบัวบกที่เหมาะที่สุด คือ การลวกใบบัวบก    ดวยเครื่องไมโครเวฟนาน 30 วินาที สามารถยับยั้งกิจกรรมของเอนไซมไดโดยมีปริมาณ        ฟนอลิกทั้งหมดและสมบัติการตานออกซิเดชันสูงที่สุด นำใบบัวบกที่มีความแกออนเหมาะที่สุดไปศึกษาดีซอรพชั่นไอโซเทิรมที่อุณหภูมิ 20 35 และ 50 องศาเซลเซียสโดยใชโปรแกรมสหสัมพันธที่ไม่เป็นเสนตรงในการหาแบบจำลองที่เหมาะสมโดยใช้แบบจำลอง Modified Oswin, Modified Henderson, Modified Chung-Pfostและ Modified Halsey พบวา แบบจำลอง  Modified Henderson สามารถทำนายดีซอรพชันไอโซเทิรมไดดีที่สุดทั้งใบบัวบกที่ไมผานการลวก และใบบัวบกที่ผานการลวกในรูปฟงกชัน Xe=f (RHe, T) และแบบจำลอง Modifed Chung-Pfost สามารถทำนายด ีซอรพชั่นไอโซเทิรมไดดีที่สุดทั้งใบบัวบกที่ไมผานการลวกและใบบัวบกที่ผานการลวกในรูปฟงกชัน RHe=f(Xe, T) การศึกษาการทำแหงใบบัวบกโดยใชเครื่องทำแหงแบบถาดและเครื่องทำแหงแบบลดความชื้นโดยใชเครื่องสูบความ   รอนที่อุณหภูมิ 40 50 และ60 องศาเซลเซียสโดยใชแบบจำลอง Newton, Henderson and Pabis, Modified Page และ Zero พบวาแบบจำลอง Modified Page สามารถอธิบายกราฟการทำแหงใบบัวบกที่ไม่ผ่านการลวกและ ใบบัวบกลวกไดดีที่สุดทั้งการทำแหงดวยเครื่องทำแหงแบบถาดและเครื่องทำแห้งแบบลดความชื้นโดยใชเครื่องสูบความรอนซึ่งคาคงที่การทำ แหง (K, min-1) มีความสัมพันธกับอุณหภูมิที่ใชในการทำแหงตามแบบจำลอง Arrhenius และคาคงท ี่N (Drying exponent) มีความสัมพันธกับอุณหภูมิที่ใชในการทำแหง และปริมาณความชื้น สัมพัทธของอากาศในการทำแหงแบบเอ็กซโปเนนเซียลเมื่อนำขอมูลของการทำ    แหงมาหาคาสัมประสิทธิ์การแพร ความชื้นในแตละอุณหภูมิของเครื่องทำแหงพบวาการทำ แหงโดยใชเครื่องทำแหงแบบถาดมีคาอยูในชวง 3.6865 x 10-11ถึง 1.7332 x 10-10 m2/s และเครื่องทำแหงแบบลดความชื้นโดยใชเครื่องสูบความรอนมีคาอยู่ในชวง 3.8951 x 10-11 ถึง1.8351 x 10-10 m2/s อุณหภูมิในการทำแหงสูงขึ้นทำใหอัตราสวนการทำแหงเพิ่มขึ้นและการลวกใบบัวบก และการทำแหงดวยเครื่องทำแหงแบบลดความชื้นโดยใชเครื่องสูบความร้อนทำใหอัตราสวนการทำแหงเพิ่มขึ้น เชนกัน การลวกใบบัวบกกอนการทำแหงมีผลต่อคาความแตกตางสีรวม (∆E*) ของใบบัวบกหลังการทำแหง และพบวาการลวกเครื่องทำแหงและอุณหภูมิในการทำแหงไมมีผลตอคาความแตกตางสีรวมของใบบัวบกหลัง การดูดน้ำกลับคืน การลวกเครื่องทำแหงและอุณหภูมิในการทำแหงมีผลตอคาอัตราสวนการดูดน้ำกลับคืนของใบ บัวบกการทำแหงใบบัวบกที่ผานการลวกทำแหงดวยเครื่องทำแหงแบบลดความชื้น โดยใชเครื่องสูบความรอนที่อุณหภูมิ 40 และ 50 องศาเซลเซียสมีปริมาณฟนอลิกทั้งหมดที่คงอยูมากที่สุดคือ 4.6323±0.04 และ 4.4966±0.08 มิลลิกรัมตอกรัมน้ำหนักแหง ตามลำดับการทำแหงใบบัวบกลวกดวยเครื่องทำแห้งแบบลดความชื้นโดยใชเครื่อง สูบความ  รอนที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส มีสมบัติการตานออกซิเดชันสูงที่สุดคือมีร้อยละการยับยั้ง 87.5217±0.55