���͢��¢������Է�ҡ����ѧ����������Postharvest Technology Information NetworkPostharvest Technology�����ɵ���������Ҫԡ���͢������纺��촡���ɵ��ҹ�����ŧҹ�Ԩ��

แนะนำหน่วยงาน

  • หน้าหลัก
  • ประชาสัมพันธ์ศูนย์ฯ
  • ความเป็นมา
  • วัตถุประสงค์
  • โครงสร้างการบริหาร
  • คณะกรรมการอำนวยการ
  • คณะกรรมการบริหาร
  • ภาคีสถาบันอุดมศึกษาและวิจัย
  • ติดต่อศูนย์ ฯ

บริการต่าง ๆ

  • PHTNET E-Learning
  • Postharvest Newsletter
  • เครื่องมือวิทยาศาสตร์
  • ห้องปฏิบัติการ
  • รายชื่อผู้ประกอบการ
  • ฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
  • หลักสูตรวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว
  • รูปภาพความเสียหายหลังการเก็บเกี่ยว
  • มาตรฐานสินค้าเกษตร และระเบียบการส่งออก
  • ลิ้งค์ที่เกี่ยวข้อง

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  • สถาบันวิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
  • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  • กรมส่งเสริมการเกตร
  • กรมวิชาการเกษตร
  • สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
  • อุตุนิยมวิทยาเพื่อการเกษตร
  • สมาคมผู้ส่งข้าวออกต่างประเทศ
  • ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย
  • สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.)

หน้าแรก > ข่าวเกษตรประจำวัน

กษ.หนุนชาวสวนมะม่วงรวมตัว

เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 52

กษ.หนุนชาวสวนมะม่วงรวมตัว

นายโอฬาร พิทักษ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร เผยว่า ปัจจุบันกลุ่มผู้ผลิตไม้ผลของประเทศไทยมีจำนวนรวมทั้งสิ้น 729 กลุ่ม เป็นกลุ่มผู้ผลิตสับปะรดมากที่สุด 159 กลุ่ม รองลงมา คือ กลุ่มผู้ผลิตมะม่วง 92 กลุ่ม โดยกลุ่มผู้ผลิตมะม่วงส่วนใหญ่ร้อยละ 84.78 จดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชน กระจายตัวอยู่ในพื้นที่ต่างๆ 31 จังหวัด จังหวัดที่มีกลุ่มผู้ผลิตมะม่วงมากที่สุด ได้แก่ เลย เชียงใหม่ ฉะเชิงเทรา ขอนแก่น พิษณุโลก และอ่างทอง ซึ่งกรมได้สนับสนุนให้แต่ละกลุ่มเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายระดับอำเภอ จังหวัด และประเทศ กระทั่งมีการก่อตั้งสมาพันธ์ชาวสวนมะม่วงแห่งประเทศไทย ในปี 2548 ปัจจุบันมีสมาชิกกว่า 10,000 ราย

ด้าน นายมานพ แก้ววงศ์นุกูล ประธานสมาพันธ์ กล่าวว่า วัตถุประสงค์ของการตั้งสมาพันธ์ จะเน้นเรื่องการสร้างความเข้มแข็งในการผลิตและสร้างอำนาจต่อรองด้านการตลาด รวมทั้งเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกลุ่มและสมาพันธ์ ตลอดจนเพื่อให้กลุ่มต่างๆ บริหารการผลิตและการตลาดได้อย่างมีประสิทธิภาพเกิดประโยชน์สูงสุด โดยไม่มีการทับซ้อนหรือแข่งขันกันเอง นอกจากนี้จะให้ความสำคัญต่อการเร่งพัฒนาฐานข้อมูลสมาพันธ์ให้เป็นเอกภาพ มีการวางแผนการผลิตการตลาดร่วมกัน โดยยึดแนวทางการซื้อขายแบบมีสัญญาล่วงหน้า การบริหารจัดการองค์กรอย่างเป็นระบบ ตลอดจนพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตผลไม้นอกฤดูที่มีคุณภาพ มีการดำเนินการตลาดที่เข้มแข็งและสามารถกำหนดราคาผลผลิตได้เอง เพื่อให้ชาวสวนมะม่วงมีสภาพเศรษฐกิจที่คล่องตัวขึ้น

ที่มา : หนังสือพิมพ์แนวหน้า วันที่ 24 พฤศจิกายน 2552
http://www.naewna.com/news.asp?ID=188572

ข่าวที่เกี่ยวข้อง
  • ทางเลือก-ทางรอดเกษตรกรรมไทยในปี 2553
  • มันสำปะหลังทุบสถิติส่งท้ายปี สูงเกินราคาประกันรัฐบาล คาดปีหน้ายังพุ่งขึ้นต่อเนื่อง
  • เตือนภัย เพลี้ยแป้งระบาดในมันสำปะหลัง
  • อียูลดค่าสีผสมอาหาร 3 ชนิด
  • สศก.เปิดเผยศึกษาลำไยนอกฤดู ยันเกษตรกรได้รับผลคุ้มค่า แนะตั้งกลุ่มส่งเสริมจริงจัง
  • โอกาสของเกษตรกรรายย่อยในการรับรองฟาร์มแบบกลุ่ม
  • มะนาวพันธุ์ 'แป้นดกพิเศษ' ดกกว่าพันธุ์แป้นรำไพ 2-3 เท่า
  • ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

    Postharvest Technology Innovation Center

    เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว | ข่าวเกษตร | บทความ | ฐานข้อมูลงานวิจัย | วีดีโอ | Postharvest Technology