͢¢ԷҡѧPostharvest Technology Information NetworkPostharvest TechnologyɵҪԡ͢纺촡ɵҹŧҹԨ

แนะนำหน่วยงาน

  • หน้าหลัก
  • ประชาสัมพันธ์ศูนย์ฯ
  • ความเป็นมา
  • วัตถุประสงค์
  • โครงสร้างการบริหาร
  • คณะกรรมการอำนวยการ
  • คณะกรรมการบริหาร
  • ภาคีสถาบันอุดมศึกษาและวิจัย
  • ติดต่อศูนย์ ฯ

บริการต่าง ๆ

  • PHTNET E-Learning
  • Postharvest Newsletter
  • เครื่องมือวิทยาศาสตร์
  • ห้องปฏิบัติการ
  • รายชื่อผู้ประกอบการ
  • ฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
  • หลักสูตรวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว
  • รูปภาพความเสียหายหลังการเก็บเกี่ยว
  • มาตรฐานสินค้าเกษตร และระเบียบการส่งออก
  • ลิ้งค์ที่เกี่ยวข้อง

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  • สถาบันวิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
  • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  • กรมส่งเสริมการเกตร
  • กรมวิชาการเกษตร
  • สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
  • อุตุนิยมวิทยาเพื่อการเกษตร
  • สมาคมผู้ส่งข้าวออกต่างประเทศ
  • ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย
  • สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.)

หน้าแรก > ข่าวเกษตรประจำวัน

วิจัยพบ 'การไถพรวน' ตัวการปล่อยก๊าซคาร์บอน

เมื่อวันที่ 29 กันยายน 52

วิจัยพบ 'การไถพรวน' ตัวการปล่อยก๊าซคาร์บอน นายประเสริฐ เทพนรประไพ  ผอ. สำนักวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน เปิดเผยว่า จากการที่กรมพัฒนาที่ดิน วิจัยเรื่องโลกร้อนที่มีผลต่อภาคเกษตรไทย ซึ่งมีระยะเวลาดำเนินการรวม 3 ปี เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551-2553  โดยได้ดำเนินการในพืชเศรษฐกิจ ได้แก่ ข้าว  ข้าวโพด  ซึ่งขณะนี้ผลจากการศึกษาวิจัยมาตลอด 2 ปี ในส่วนข้าวโพดนั้นพบแนวโน้มสาเหตุที่เป็นตัวการในการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากที่สุดคือ ขั้นตอนการไถพรวนของเกษตรกร เนื่องจากการไถพรวนที่ไม่มีแบบแผนตามหลักวิชาการจะเป็นตัวเร่งให้เกิดการ ปล่อยก๊าซ ขณะที่ผลทดสอบการไถกลบตอซังเศษพืช  พบว่าไม่ได้มีความแตกต่างกันของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปลดปล่อยออกมาจากดิน ระหว่างพื้นที่ที่ไถกลบตอซังกับพื้นที่ไถกลบโดยไม่มีตอซัง

“ถึงแม้การรณรงค์ไถกลบตอซังเศษพืชทดแทนการเผานั้น จะยังไม่มีข้อมูลยืนยันเป็นสถิติชัดเจนว่าสามารถช่วยลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ สาเหตุของภาวะโลกร้อนของภาคเกษตร แต่ที่แน่ ๆ การไม่เผาตอซังก็ช่วยในการลดมลพิษ ที่สำคัญการไถกลบตอซังเป็นการคืนความอุดมสมบูรณ์ให้กับดิน สำหรับผลวิจัยพืชเศรษฐกิจตัวอื่นนั้นคาดว่าจะสามารถสรุปผลได้ภายในปี พ.ศ. 2553 ทั้งนี้  กรมพัฒนาที่ดินเชื่อมั่นว่าผลงานวิจัยชิ้นนี้จะเป็นประโยชน์ต่อภาคเกษตรไทยอย่างมาก” ผอ.สำนักวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน กล่าว.

ที่มา : หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ วันที่ 29 กันยายน 2552
http://www.dailynews.co.th/newstartpage/index.cfm?page=content&categoryId=339&contentID=22911

ข่าวที่เกี่ยวข้อง
  • ทางเลือก-ทางรอดเกษตรกรรมไทยในปี 2553
  • มันสำปะหลังทุบสถิติส่งท้ายปี สูงเกินราคาประกันรัฐบาล คาดปีหน้ายังพุ่งขึ้นต่อเนื่อง
  • เตือนภัย เพลี้ยแป้งระบาดในมันสำปะหลัง
  • อียูลดค่าสีผสมอาหาร 3 ชนิด
  • สศก.เปิดเผยศึกษาลำไยนอกฤดู ยันเกษตรกรได้รับผลคุ้มค่า แนะตั้งกลุ่มส่งเสริมจริงจัง
  • โอกาสของเกษตรกรรายย่อยในการรับรองฟาร์มแบบกลุ่ม
  • มะนาวพันธุ์ 'แป้นดกพิเศษ' ดกกว่าพันธุ์แป้นรำไพ 2-3 เท่า
  • ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

    Postharvest Technology Innovation Center

    เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว | ข่าวเกษตร | บทความ | ฐานข้อมูลงานวิจัย | วีดีโอ | Postharvest Technology