͢¢ԷҡѧPostharvest Technology Information NetworkPostharvest TechnologyɵҪԡ͢纺촡ɵҹŧҹԨ

แนะนำหน่วยงาน

  • หน้าหลัก
  • ประชาสัมพันธ์ศูนย์ฯ
  • ความเป็นมา
  • วัตถุประสงค์
  • โครงสร้างการบริหาร
  • คณะกรรมการอำนวยการ
  • คณะกรรมการบริหาร
  • ภาคีสถาบันอุดมศึกษาและวิจัย
  • ติดต่อศูนย์ ฯ

บริการต่าง ๆ

  • PHTNET E-Learning
  • Postharvest Newsletter
  • เครื่องมือวิทยาศาสตร์
  • ห้องปฏิบัติการ
  • รายชื่อผู้ประกอบการ
  • ฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
  • หลักสูตรวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว
  • รูปภาพความเสียหายหลังการเก็บเกี่ยว
  • มาตรฐานสินค้าเกษตร และระเบียบการส่งออก
  • ลิ้งค์ที่เกี่ยวข้อง

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  • สถาบันวิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
  • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  • กรมส่งเสริมการเกตร
  • กรมวิชาการเกษตร
  • สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
  • อุตุนิยมวิทยาเพื่อการเกษตร
  • สมาคมผู้ส่งข้าวออกต่างประเทศ
  • ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย
  • สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.)

หน้าแรก > ข่าวเกษตรประจำวัน

แก้ปัญหาดินเค็มผลผลิตข้าวเพิ่ม

เมื่อวันที่ 23 กันยายน 52

แก้ปัญหาดินเค็มผลผลิตข้าวเพิ่ม นายบัณฑิต ตันศิริ อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน เปิดเผยว่า กรมพัฒนาที่ดินดำเนินโครงการพัฒนาที่ดินตามพระราชเสาวนีย์ โดยเฉพาะการแก้ปัญหาดินเค็มในพื้นที่ ต.สระจระเข้ อ.ด่านขุนทด จ.นครราชสีมา มาตั้งแต่ปี 2543 ซึ่งแต่เดิมพื้นที่ดังกล่าวมีปัญหาดินเค็มจัด กรมฯ จึงได้บูรณาการงานด้านการพัฒนาที่ดินต่าง ๆ  ทั้งการปรับปรุงบำรุงดิน และการอนุรักษ์ดินและน้ำ การจัดรูปแปลงนา ปรับพื้นที่ให้มีความสม่ำเสมอ ทำให้มีการกระจายน้ำไปทั่วแปลงนา ป้องกันการสะสมเกลือเป็นหย่อม ๆ ในแปลง เกษตรกรได้รับการส่งเสริมเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิตข้าวในพื้นที่ดินเค็ม โดยใช้วัสดุปรับปรุงบำรุงดิน เช่น แกลบ ปุ๋ยคอก และการใช้พืชปุ๋ยสด (โสนแอฟริกัน) ปลูกในนาข้าว นอกจากนี้ ยังส่งเสริมการปลูกป่า โดยปลูกพืชทนเค็มและมีความสามารถในการใช้น้ำสูง ได้แก่ หญ้าดิ๊กซี่ ปลูกร่วมกับต้นกระถินออสเตรเลีย (อะคาเซีย) และปลูกไม้เศรษฐกิจบนคันนา (ยูคาลิปตัส) สร้างคันคูระบายน้ำ เบนทิศทางการไหลบ่าของน้ำและควบคุมระดับน้ำ อีกทั้งยังสามารถนำน้ำมาใช้ล้างเกลือในแปลงนาได้ พร้อมกันนี้ กรมฯ ยังทำงานวิจัยเพื่อศึกษาการเพิ่มผลผลิตข้าวหอม 4 พันธุ์ในพื้นที่ดินเค็ม สำหรับใช้ส่งเสริมเกษตรกรปลูกต่อไป

“ผลจากการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกษตรกรสามารถใช้พื้นที่ทำการเกษตรตามศักยภาพของทรัพยากรดิน และสามารถฟื้นฟูทรัพยากรดินที่เสื่อมโทรมให้ดีขึ้น นำไปสู่การทำการเกษตรอย่างยั่งยืน ซึ่งจนถึงปัจจุบันสภาพพื้นที่โครงการได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง พื้นที่ดินเค็มจัดได้รับการฟื้นฟูจนสามารถกลับมาใช้ประโยชน์ได้ไม่ต่ำกว่า 19,158 ไร่ เกษตรกรสามารถปลูกข้าวได้ผลผลิตเพิ่มขึ้น” อธิบดี กล่าว.

ที่มา : หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ วันที่ 23 กันยายน 2552
http://www.dailynews.co.th/newstartpage/index.cfm?page=content&categoryId=339&contentID=21797

ข่าวที่เกี่ยวข้อง
  • ทางเลือก-ทางรอดเกษตรกรรมไทยในปี 2553
  • มันสำปะหลังทุบสถิติส่งท้ายปี สูงเกินราคาประกันรัฐบาล คาดปีหน้ายังพุ่งขึ้นต่อเนื่อง
  • เตือนภัย เพลี้ยแป้งระบาดในมันสำปะหลัง
  • อียูลดค่าสีผสมอาหาร 3 ชนิด
  • สศก.เปิดเผยศึกษาลำไยนอกฤดู ยันเกษตรกรได้รับผลคุ้มค่า แนะตั้งกลุ่มส่งเสริมจริงจัง
  • โอกาสของเกษตรกรรายย่อยในการรับรองฟาร์มแบบกลุ่ม
  • มะนาวพันธุ์ 'แป้นดกพิเศษ' ดกกว่าพันธุ์แป้นรำไพ 2-3 เท่า
  • ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

    Postharvest Technology Innovation Center

    เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว | ข่าวเกษตร | บทความ | ฐานข้อมูลงานวิจัย | วีดีโอ | Postharvest Technology