͢¢ԷҡѧPostharvest Technology Information NetworkPostharvest TechnologyɵҪԡ͢纺촡ɵҹŧҹԨ

แนะนำหน่วยงาน

  • หน้าหลัก
  • ประชาสัมพันธ์ศูนย์ฯ
  • ความเป็นมา
  • วัตถุประสงค์
  • โครงสร้างการบริหาร
  • คณะกรรมการอำนวยการ
  • คณะกรรมการบริหาร
  • ภาคีสถาบันอุดมศึกษาและวิจัย
  • ติดต่อศูนย์ ฯ

บริการต่าง ๆ

  • PHTNET E-Learning
  • Postharvest Newsletter
  • เครื่องมือวิทยาศาสตร์
  • ห้องปฏิบัติการ
  • รายชื่อผู้ประกอบการ
  • ฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
  • หลักสูตรวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว
  • รูปภาพความเสียหายหลังการเก็บเกี่ยว
  • มาตรฐานสินค้าเกษตร และระเบียบการส่งออก
  • ลิ้งค์ที่เกี่ยวข้อง

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  • สถาบันวิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
  • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  • กรมส่งเสริมการเกตร
  • กรมวิชาการเกษตร
  • สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
  • อุตุนิยมวิทยาเพื่อการเกษตร
  • สมาคมผู้ส่งข้าวออกต่างประเทศ
  • ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย
  • สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.)

หน้าแรก > ข่าวเกษตรประจำวัน

ส้มโอไทยรักษามะเร็ง

เมื่อวันที่ 23 กันยายน 52

ส้มโอไทยรักษามะเร็ง นักวิจัยไทยสุดเก่งพบส้มโอไทยสามารถรักษามะเร็งได้ โดย ผศ.ประภาพร ภูริปัญญาคุณ หัวหน้าโครงการวิจัยพร้อมทีมงาน อาทิ ผศ.เยี่ยมศิริ มณีพิสมัย อาจารย์อุษณีย์ ใบบัว และ น.ส.เรือนแก้ว บุญญานันต์ อาจารย์จากคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ได้วิจัยงานเรื่อง “การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพในเปลือกส้มโอบางชนิดของ จ.ชัยนาท” โดยนำเอาส้มโอ 2 สายพันธุ์ใน จ.ชัยนาท คือพันธุ์ขาวแตงกวา และทองดี มาศึกษาคุณค่าทางโภชนาการ องค์ประกอบทางเคมี ฤทธิ์ทางชีวภาพ และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ

จากการวิจัยพบว่าส้มโอพันธุ์ขาวแตงกวา ไม่ว่าจะเป็นเปลือกนอก เปลือกในที่นิยมนำมาทำแช่อิ่ม และเนื้อกุ้งหรือส่วนที่มีความหวานชุ่มฉ่ำของเนื้อส้มโอ ทั้งหมดมีคุณค่าทางโภชนาการครบทั้ง 5 หมู่ นอกจากนี้จากการศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดจากส้มโอ ด้วยตัวทำลายอินทรีย์ในด้านความเป็นพิษต่อเซลล์ปกติในหลอดทดลอง ผลไม่พบความเป็นพิษต่อเซลล์ปกติ แต่สารสกัดส่วนที่เปลือกนอกแสดงฤทธิ์ต้านเซลล์มะเร็งปอด และเซลล์มะเร็งช่องปาก ของเซลล์ทดลองในหลอดทดลองได้ดีมาก

อย่างไรก็ตามนี่เป็นเพียงจุดเริ่มต้นของการค้นพบใหม่เท่านั้น ต่อไปยังต้องมีการทดลองต่อ เพื่อค้นหาสารสำคัญในส้มโอพันธุ์ขาวแตงกวาว่าเป็นสารใด และจะมีความเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด ที่จะนำมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพ หรือเป็นยาป้องกันหรือรักษามะเร็งปอดและมะเร็งในช่องปาก.

ที่มา : หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ วันที่ 23 กันยายน 2552
http://www.dailynews.co.th/newstartpage/index.cfm?page=content&categoryId=339&contentID=21798

ข่าวที่เกี่ยวข้อง
  • ทางเลือก-ทางรอดเกษตรกรรมไทยในปี 2553
  • มันสำปะหลังทุบสถิติส่งท้ายปี สูงเกินราคาประกันรัฐบาล คาดปีหน้ายังพุ่งขึ้นต่อเนื่อง
  • เตือนภัย เพลี้ยแป้งระบาดในมันสำปะหลัง
  • อียูลดค่าสีผสมอาหาร 3 ชนิด
  • สศก.เปิดเผยศึกษาลำไยนอกฤดู ยันเกษตรกรได้รับผลคุ้มค่า แนะตั้งกลุ่มส่งเสริมจริงจัง
  • โอกาสของเกษตรกรรายย่อยในการรับรองฟาร์มแบบกลุ่ม
  • มะนาวพันธุ์ 'แป้นดกพิเศษ' ดกกว่าพันธุ์แป้นรำไพ 2-3 เท่า
  • ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

    Postharvest Technology Innovation Center

    เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว | ข่าวเกษตร | บทความ | ฐานข้อมูลงานวิจัย | วีดีโอ | Postharvest Technology