͢¢ԷҡѧPostharvest Technology Information NetworkPostharvest TechnologyɵҪԡ͢纺촡ɵҹŧҹԨ

แนะนำหน่วยงาน

  • หน้าหลัก
  • ประชาสัมพันธ์ศูนย์ฯ
  • ความเป็นมา
  • วัตถุประสงค์
  • โครงสร้างการบริหาร
  • คณะกรรมการอำนวยการ
  • คณะกรรมการบริหาร
  • ภาคีสถาบันอุดมศึกษาและวิจัย
  • ติดต่อศูนย์ ฯ

บริการต่าง ๆ

  • PHTNET E-Learning
  • Postharvest Newsletter
  • เครื่องมือวิทยาศาสตร์
  • ห้องปฏิบัติการ
  • รายชื่อผู้ประกอบการ
  • ฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
  • หลักสูตรวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว
  • รูปภาพความเสียหายหลังการเก็บเกี่ยว
  • มาตรฐานสินค้าเกษตร และระเบียบการส่งออก
  • ลิ้งค์ที่เกี่ยวข้อง

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  • สถาบันวิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
  • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  • กรมส่งเสริมการเกตร
  • กรมวิชาการเกษตร
  • สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
  • อุตุนิยมวิทยาเพื่อการเกษตร
  • สมาคมผู้ส่งข้าวออกต่างประเทศ
  • ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย
  • สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.)

หน้าแรก > ข่าวเกษตรประจำวัน

นักวิชาการ มอ.เตือนผู้เลี้ยงหอย ธรรมชาติเสียดุล-ปรับขนาดแพเลี้ยงเล็กลง

เมื่อวันที่ 22 กันยายน 52

นักวิชาการ มอ.เตือนผู้เลี้ยงหอย ธรรมชาติเสียดุล-ปรับขนาดแพเลี้ยงเล็กลง

จากกรณีที่ กลุ่มเกษตรกรที่เลี้ยงหอยแมลงภู่ในภาคใต้ประสบปัญหาหอยแมลงภู่เสียจำนวนมาก นั้นทาง รศ.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(มอ.) วิทยาเขตหาดใหญ่ เผยว่าจากปริมาณน้ำฝนที่ตกหนักในปีนี้ซึ่งส่งผลกระทบต่อระดับความเค็มของน้ำ รวมทั้งปริมาณการเลี้ยงที่หนาแน่น มีผลต่อการเลี้ยงหอยแมลงภู่ เนื่องจากที่ผ่านมาทางมหาวิทยาลัยได้เข้าไปศึกษาการตายของหอยแมลงภู่ในหมู่ ที่ 1 และหมู่ที่ 4 ของ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ที่มีกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงหอยอยู่ 89 ราย จำนวน 100 แพ พบว่าหอยแมลงภู่ที่เลี้ยงไว้ตายเป็นจำนวนมากเนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมของน้ำอย่างฉับพลัน

จากการตรวจสอบหอยแมลงภู่ที่อยู่ในถุงอวน พบว่าหอยแมลงภู่ที่อยู่ด้านบนหรือที่อยู่ในระดับผิวน้ำมีการตายมากกว่าหอยแมลงภู่ที่อยู่ด้านล่าง เนื่องจากระดับความเค็มของน้ำทะเลมีการเปลี่ยนแปลงมากกว่าและเร็วกว่าระดับน้ำที่อยู่ลึกลงไปส่งผลให้หอยแมลงภู่ไม่สามารถปรับตัวได้ นอกจากนี้ ปริมาณการเลี้ยงหอยแมลงภู่เพิ่มขึ้นกว่าปีที่แล้วถึง 2-3 เท่า มีผลต่อระบบการไหลเวียนของน้ำที่ไม่ดี ทำให้ปริมาณอาหารที่หอยแมลงภู่ได้รับน้อยลง เมื่อรวมกับปัจจัยของระดับความเค็มของน้ำทะเลที่ลดลงจากปริมาณฝนที่ตกหนัก ทำให้หอยแมลงภู่เกิดความเครียด อ่อนแอ และเมื่อหอยเกิดการตาย ทำให้สภาพน้ำยิ่งเสื่อมลง เกิดเชื้อโรคและส่งผลให้หอยแมลงภู่ตายเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว

กลุ่มเกษตรกรจะต้องคำนึงถึงความสามารถของระบบด้วยว่า จะสามารถรองรับปริมาณหอยได้มากน้อยเท่าใด กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงหอยแมลงภู่ควรลดจำนวนแพและปรับขนาดแพหอยให้เล็กลง ไม่แขวนถุงบรรจุหอยให้แน่นจนเกินไป ซึ่งจะช่วยลดการตายจากการเลี้ยงหอยแมลงภู่ลงได้

ที่มา : หนังสือพิมพ์ข่าวสด วันที่ 22 กันยายน 2552
http://www.khaosod.co.th/view_news.php?newsid=TUROd2NtOHdNVEl5TURrMU1nPT0=§ionid=TURNeE13PT0=&day=TWpBd09TMHdPUzB5TWc9PQ==

ข่าวที่เกี่ยวข้อง
  • ทางเลือก-ทางรอดเกษตรกรรมไทยในปี 2553
  • มันสำปะหลังทุบสถิติส่งท้ายปี สูงเกินราคาประกันรัฐบาล คาดปีหน้ายังพุ่งขึ้นต่อเนื่อง
  • เตือนภัย เพลี้ยแป้งระบาดในมันสำปะหลัง
  • อียูลดค่าสีผสมอาหาร 3 ชนิด
  • สศก.เปิดเผยศึกษาลำไยนอกฤดู ยันเกษตรกรได้รับผลคุ้มค่า แนะตั้งกลุ่มส่งเสริมจริงจัง
  • โอกาสของเกษตรกรรายย่อยในการรับรองฟาร์มแบบกลุ่ม
  • มะนาวพันธุ์ 'แป้นดกพิเศษ' ดกกว่าพันธุ์แป้นรำไพ 2-3 เท่า
  • ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

    Postharvest Technology Innovation Center

    เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว | ข่าวเกษตร | บทความ | ฐานข้อมูลงานวิจัย | วีดีโอ | Postharvest Technology