͢¢ԷҡѧPostharvest Technology Information NetworkPostharvest TechnologyɵҪԡ͢纺촡ɵҹŧҹԨ

แนะนำหน่วยงาน

  • หน้าหลัก
  • ประชาสัมพันธ์ศูนย์ฯ
  • ความเป็นมา
  • วัตถุประสงค์
  • โครงสร้างการบริหาร
  • คณะกรรมการอำนวยการ
  • คณะกรรมการบริหาร
  • ภาคีสถาบันอุดมศึกษาและวิจัย
  • ติดต่อศูนย์ ฯ

บริการต่าง ๆ

  • PHTNET E-Learning
  • Postharvest Newsletter
  • เครื่องมือวิทยาศาสตร์
  • ห้องปฏิบัติการ
  • รายชื่อผู้ประกอบการ
  • ฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
  • หลักสูตรวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว
  • รูปภาพความเสียหายหลังการเก็บเกี่ยว
  • มาตรฐานสินค้าเกษตร และระเบียบการส่งออก
  • ลิ้งค์ที่เกี่ยวข้อง

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  • สถาบันวิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
  • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  • กรมส่งเสริมการเกตร
  • กรมวิชาการเกษตร
  • สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
  • อุตุนิยมวิทยาเพื่อการเกษตร
  • สมาคมผู้ส่งข้าวออกต่างประเทศ
  • ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย
  • สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.)

หน้าแรก > ข่าวเกษตรประจำวัน

IPPC ปรับปรุงมาตรฐานวัสดุบรรจุภัณฑ์ไม้ใหม่

เมื่อวันที่ 8 กันยายน 52

IPPC ปรับปรุงมาตรฐานวัสดุบรรจุภัณฑ์ไม้ใหม่

นางสาวเมทนี สุคนธรักษ์ ผอ.สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) เปิดเผยว่า คณะกรรมาธิการมาตรการสุขอนามัยพืชภายใต้อนุสัญญาว่าด้วยการอารักขาพืช ระหว่างประเทศ (IPPC) ได้ปรับปรุงแก้ไขมาตรฐาน ISPM No.15 ใหม่ เพื่อใช้ควบคุมศัตรูพืชสำคัญที่อาศัยอยู่ในวัสดุบรรจุภัณฑ์ไม้ (Wood Packaging Material) ได้แก่ ลังไม้แบบโปร่ง กล่องไม้ ถังไม้ ไม้รองรับสินค้า วัสดุไม้กันกระแทก ลังไม้แบบทึบ ไม้รองมุมกันกระแทก ไม้รองลาก และ load board ที่ใช้ขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

โดยได้เพิ่มเติม 4 ประเด็นจากฉบับเดิมที่ประกาศใช้เมื่อปี 2547 คือ

  1. การนำไม้ลอกเปลือก (Debarked Wood) มาประกอบเป็นวัสดุบรรจุภัณฑ์ไม้ กำหนดให้มีเปลือกได้กว้างไม่เกิน 3 เซนติเมตร (ไม่จำกัดความยาว) หากกว้างเกิน 3 เซนติเมตร ต้องให้พื้นที่เปลือกน้อยกว่า 50 ตารางเมตร
  2. วัสดุบรรจุภัณฑ์ไม้ที่นำมาใช้ใหม่ (reused) ไม่จำเป็นต้องกำจัดศัตรูพืชหรือทรีตเมนต์ใหม่ และไม่ต้องประทับตรารับรองใหม่ด้วย
  3. วัสดุบรรจุภัณฑ์ไม้ที่นำมาซ่อมแซมใหม่เมื่อได้รับการซ่อมแซมแล้วต้องนำ กลับมาทรีตเมนต์ใหม่ด้วยการอบด้วยความร้อนหรือรมด้วยเมทิลโบรไมด์ตามมาตรฐาน ISPM No.15 ทั้งยังต้องประทับตรารับรองใหม่โดยลบตรารับรองเดิมออกให้หมด และ
  4. เครื่องหมายรับรอง IPPC ยังให้ใช้สัญลักษณ์เดิม แต่ต้องมีข้อมูลรหัสประเทศ รหัสผู้ผลิต และรหัสทรีตเมนต์ด้วย สำหรับไม้ชิ้นยาวที่จะนำมาใช้เป็นไม้กันกระแทก (dunnage) ต้องประทับตรารับรองให้ถี่ขึ้นเพื่อเวลานำมาตัดเป็นชิ้นเล็ก ตรารับรองจะยังคงปรากฏให้เห็นได้

นางสาวเมทนี กล่าว.

ที่มา : หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ วันที่ 8 กันยายน 2552
http://www.dailynews.co.th/newstartpage/index.cfm?page=content&categoryId=339&contentID=18880

ข่าวที่เกี่ยวข้อง
  • ทางเลือก-ทางรอดเกษตรกรรมไทยในปี 2553
  • มันสำปะหลังทุบสถิติส่งท้ายปี สูงเกินราคาประกันรัฐบาล คาดปีหน้ายังพุ่งขึ้นต่อเนื่อง
  • เตือนภัย เพลี้ยแป้งระบาดในมันสำปะหลัง
  • อียูลดค่าสีผสมอาหาร 3 ชนิด
  • สศก.เปิดเผยศึกษาลำไยนอกฤดู ยันเกษตรกรได้รับผลคุ้มค่า แนะตั้งกลุ่มส่งเสริมจริงจัง
  • โอกาสของเกษตรกรรายย่อยในการรับรองฟาร์มแบบกลุ่ม
  • มะนาวพันธุ์ 'แป้นดกพิเศษ' ดกกว่าพันธุ์แป้นรำไพ 2-3 เท่า
  • ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

    Postharvest Technology Innovation Center

    เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว | ข่าวเกษตร | บทความ | ฐานข้อมูลงานวิจัย | วีดีโอ | Postharvest Technology