���͢��¢������Է�ҡ����ѧ����������Postharvest Technology Information NetworkPostharvest Technology�����ɵ���������Ҫԡ���͢������纺��촡���ɵ��ҹ�����ŧҹ�Ԩ��

แนะนำหน่วยงาน

  • หน้าหลัก
  • ประชาสัมพันธ์ศูนย์ฯ
  • ความเป็นมา
  • วัตถุประสงค์
  • โครงสร้างการบริหาร
  • คณะกรรมการอำนวยการ
  • คณะกรรมการบริหาร
  • ภาคีสถาบันอุดมศึกษาและวิจัย
  • ติดต่อศูนย์ ฯ

บริการต่าง ๆ

  • PHTNET E-Learning
  • Postharvest Newsletter
  • เครื่องมือวิทยาศาสตร์
  • ห้องปฏิบัติการ
  • รายชื่อผู้ประกอบการ
  • ฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
  • หลักสูตรวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว
  • รูปภาพความเสียหายหลังการเก็บเกี่ยว
  • มาตรฐานสินค้าเกษตร และระเบียบการส่งออก
  • ลิ้งค์ที่เกี่ยวข้อง

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  • สถาบันวิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
  • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  • กรมส่งเสริมการเกตร
  • กรมวิชาการเกษตร
  • สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
  • อุตุนิยมวิทยาเพื่อการเกษตร
  • สมาคมผู้ส่งข้าวออกต่างประเทศ
  • ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย
  • สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.)

หน้าแรก > ข่าวเกษตรประจำวัน

สวนมะม่วงภาคตะวันออกลด เกษตรกรโค่นทิ้งแห่ปลูกพืชอื่น

เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 52

สวนมะม่วงภาคตะวันออกลด เกษตรกรโค่นทิ้งแห่ปลูกพืชอื่น

นางสุวคนธ์ ทรงแสงธรรม ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขต 6 (สศข.6) จ.ชลบุรี สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) เปิดเผยถึงการจัดทำข้อมูลเอกภาพมะม่วงโดยเป็นความร่วมมือกันระหว่างสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรกับกรมส่งเสริมการเกษตร

โดช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขต 6 และสำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3 จ.ระยอง รวมทั้งสำนักงานเกษตร จ.สมุทรปราการ ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี นครนายก และสระแก้ว ได้ระดมเจ้าหน้าที่ลงพื้นจัดเก็บข้อมูลปริมาณการผลิตมะม่วงภาคตะวันออก พบว่า ปี 2552 ภาคตะวันออก มีเนื้อที่มะม่วงยืนต้น 160,546 ไร่ ลดลงจากปี 2551 จำนวน 3,733 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 2.27 ส่วนเนื้อที่ให้ผล 149,176 ไร่ ลดลงจำนวน 8,198 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 5.21 มีปริมาณผลผลิตรวมทั้งหมด 84,238 ตัน ลดลงจำนวน 33,190 ตัน หรือคิดเป็นร้อยละ 28.26 และผลผลิตเฉลี่ยไร่ละ 565 กิโลกรัม ลดลงจำนวน 181 กิโลกรัม คิดเป็นร้อยละ 24.32 โดยผลผลิตมะม่วงออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน ถึงร้อยละ 31.40 และ 45.64

สาเหตุที่เนื้อที่มะม่วงยืนต้นลดลง เนื่องจากมีการโค่นต้นมะม่วงทิ้งเพื่อปลูกพืชอื่นทดแทน เช่น มันสำปะหลัง เป็นต้น กอปรกับราคาผลผลิตมะม่วงไม่จูงใจ ส่วนผลผลิตลดลงเพราะสภาพอากาศไม่เอื้ออำนวยในช่วงของการออกดอก เกิดความแปรปรวนของอากาศและมีฝนตก ทำให้ดอกร่วงเสียหาย อีกทั้งยังมีโรคแมลงรบกวน จึงเป็นสาเหตุให้ผลผลิตลดลง

ที่มา : หนังสือพิมพ์แนวหน้า วันที่ 27 พฤษภาคม 2552
http://www.naewna.com/news.asp?ID=163158

ข่าวที่เกี่ยวข้อง
  • ทางเลือก-ทางรอดเกษตรกรรมไทยในปี 2553
  • มันสำปะหลังทุบสถิติส่งท้ายปี สูงเกินราคาประกันรัฐบาล คาดปีหน้ายังพุ่งขึ้นต่อเนื่อง
  • เตือนภัย เพลี้ยแป้งระบาดในมันสำปะหลัง
  • อียูลดค่าสีผสมอาหาร 3 ชนิด
  • สศก.เปิดเผยศึกษาลำไยนอกฤดู ยันเกษตรกรได้รับผลคุ้มค่า แนะตั้งกลุ่มส่งเสริมจริงจัง
  • โอกาสของเกษตรกรรายย่อยในการรับรองฟาร์มแบบกลุ่ม
  • มะนาวพันธุ์ 'แป้นดกพิเศษ' ดกกว่าพันธุ์แป้นรำไพ 2-3 เท่า
  • ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

    Postharvest Technology Innovation Center

    เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว | ข่าวเกษตร | บทความ | ฐานข้อมูลงานวิจัย | วีดีโอ | Postharvest Technology