͢¢ԷҡѧPostharvest Technology Information NetworkPostharvest TechnologyɵҪԡ͢纺촡ɵҹŧҹԨ

แนะนำหน่วยงาน

  • หน้าหลัก
  • ประชาสัมพันธ์ศูนย์ฯ
  • ความเป็นมา
  • วัตถุประสงค์
  • โครงสร้างการบริหาร
  • คณะกรรมการอำนวยการ
  • คณะกรรมการบริหาร
  • ภาคีสถาบันอุดมศึกษาและวิจัย
  • ติดต่อศูนย์ ฯ

บริการต่าง ๆ

  • PHTNET E-Learning
  • Postharvest Newsletter
  • เครื่องมือวิทยาศาสตร์
  • ห้องปฏิบัติการ
  • รายชื่อผู้ประกอบการ
  • ฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
  • หลักสูตรวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว
  • รูปภาพความเสียหายหลังการเก็บเกี่ยว
  • มาตรฐานสินค้าเกษตร และระเบียบการส่งออก
  • ลิ้งค์ที่เกี่ยวข้อง

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  • สถาบันวิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
  • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  • กรมส่งเสริมการเกตร
  • กรมวิชาการเกษตร
  • สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
  • อุตุนิยมวิทยาเพื่อการเกษตร
  • สมาคมผู้ส่งข้าวออกต่างประเทศ
  • ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย
  • สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.)

หน้าแรก > ข่าวเกษตรประจำวัน

พัฒนามาตรฐานฟาร์มไก่

เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 53

พัฒนามาตรฐานฟาร์มไก่ นายปรีชา สมบูรณ์ประเสริฐ อธิบดีกรมปศุสัตว์ กล่าวว่า กรมปศุสัตว์  จัดทำโครงการพัฒนารูปแบบการเลี้ยงและการจัดการที่ลดความเสี่ยงต่อโรคไข้หวัดนก และโรคระบาดอื่นในไก่พื้นเมืองขึ้นมา เพื่อปรับระบบการเลี้ยงไก่พื้นเมืองซึ่งจากเดิมที่เกษตรกรส่วนใหญ่เลี้ยงแบบปล่อยให้เดินหาอาหารกินเองจากธรรมชาติในบริเวณบ้าน กลับเข้าเล้าหรือโรงเรือนในตอนเย็น และยังมีบางส่วนที่ไม่มีเล้าหรือโรงเรือนจะนอนบนต้นไม้หรือใต้ถุนบ้าน ซึ่งการเลี้ยงในลักษณะนี้ทำให้ได้ผลผลิตต่ำเนื่องจากสัตว์ปีกบางส่วนป่วยตาย จากการติดเชื้อโรคระบาดและที่สำคัญยังเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคระบาดโดยเฉพาะโรคไข้หวัดนกที่สามารถติดต่อมาสู่คนและทำให้คนเสียชีวิตได้

ดังนั้น กรมปศุสัตว์จึงจัดทำโครงการพัฒนาปรับรูปแบบการเลี้ยงไก่พื้นเมืองโดยการทำเล้าหรือโรงเรือนให้อยู่ห่างจากบ้านพักอาศัยของตนเองและเพื่อนบ้านพอสมควร มีพื้นที่สำหรับเลี้ยงสัตว์ปีกเป็นสัดส่วนเพียงพอ และเหมาะสมกับจำนวนสัตว์ปีก ทำโรงเรือนแบบง่าย ๆ และค่าใช้จ่ายไม่แพง หลังคาและผนังทำจากวัสดุในท้องถิ่นที่ทนทานสำหรับกันแดด กันฝน มีมุ้งเขียวกันยุงในตอนกลางคืน รวมทั้งใช้ตาข่ายกั้นเป็นแนวรั้วรอบพื้นที่เลี้ยงไก่ สำหรับให้ไก่เดินหากินได้ มีอ่างน้ำยาฆ่าเชื้อโรค ตรงบริเวณประตูทางเข้า-ออก สำหรับจุ่มเท้า เพื่อฆ่าเชื้อโรคก่อนเข้าและออกจากพื้นที่เลี้ยงไก่

อธิบดีกรมปศุสัตว์ กล่าวย้ำว่าเมื่อเกษตรกรนำเอาแนวทางของโครงการฯ นี้ไปใช้จริง จะทำให้มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันโรคมากขึ้น สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ไปยังเกษตรกรรายอื่นในชุมชนเดียวกันได้ และที่สำคัญจะสามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้หวัดนกรวมทั้งเป็นการลด จำนวนสัตว์ปีกป่วยตายจากวิธีการเลี้ยงแบบเดิมที่ไม่มีระบบการป้องกันโรค ทำให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น ประเทศไทยมีเครือข่ายเฝ้าระวังไข้หวัดนกเพิ่มขึ้นทำให้สามารถรู้และควบคุมโรคได้เร็วและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นอีกด้วย.

ที่มา : หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ วันที่ 20 กรกฎาคม 2553
http://www.dailynews.co.th/newstartpage/index.cfm?page=content&categoryId=339&contentID=79126

ข่าวที่เกี่ยวข้อง
  • นำเลี้ยงปูนิ่ม-พัฒนาท่องเที่ยว วิถีสร้างอาชีพของ วชช.เพื่อชุมชน
  • 'ไม้ผลแปลกและหายาก' ที่น่าปลูกในปี พ.ศ.2554
  • คาดลำไยปีหน้าราคาพุ่ง "ธีระ" ฟุ้งแผนบริหารจัดการดี มุ่งเน้นเดินตามกลไกตลาด
  • ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ใช้เอง ลดต้นทุนการผลิตได้
  • วช.หนุนวิจัยปลานิล "จิตรลดา3" คุณภาพเหมาะเลี้ยงเชิงพาณิชย์
  • บริหารนำเข้ากาแฟสำเร็จรูป สกัดผลกระทบเปิดเสรีอาฟตา กษ.จับตาล้นตลาด-ราคาร่วง
  • วิจัย "ดีเอ็นเอ" แตงกวา มก.พัฒนา ต้านราน้ำค้าง
  • ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

    Postharvest Technology Innovation Center

    เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว | ข่าวเกษตร | บทความ | ฐานข้อมูลงานวิจัย | วีดีโอ | Postharvest Technology